THE ULTIMATE GUIDE TO เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ

The Ultimate Guide To เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ

The Ultimate Guide To เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ

Blog Article

Your browser isn’t supported any longer. Update it to get the ideal YouTube working experience and our most recent options. Learn more

อย่างไรก็ตามเขาไม่ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนการที่ใช้ แต่ได้ให้ความเห็นว่าการผลิตเนื้อสัตว์ด้วยวิธีนี้ นอกจากจะตอบโจทย์ด้านจริยธรรมและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากไม่ได้เป็นการฆ่าสัตว์เพื่อเอาเนื้อ หรือทำโรงเลี้ยงสัตว์ ที่ก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจกแล้ว ประโยชน์อีกประการหนึ่งก็คือเนื้อสัตว์ที่เพาะในห้องทดลองนั้น ได้รับการควบคุมสภาพแวดล้อมอย่างเต็มที่ ทำให้มั่นใจได้ถึงความสะอาด เมื่อเทียบกับเนื้อสัตว์ที่เลี้ยง ซึ่งเราไม่แน่ใจว่ามันกินอะไรเข้าไปบ้าง 

องค์การอาหารของสิงคโปร์อนุมัติให้วางจำหน่ายเนื้อไก่ที่เพาะเลี้ยงในห้องแล็บตามท้องตลาดได้ ซึ่งถือเป็นประเทศแรกในโลกที่อนุญาตให้ขายเนื้อสัตว์สังเคราะห์อย่างเป็นทางการ 

‘เคเอฟซี’ จับมือ ‘บียอนด์ มีท’ ทดลองผลิตนักเก็ต-ปีกไก่จากโปรตีนพืช

และเหนืออื่นใดหลักการเนื้อสัตว์ทดแทนคือ ต่อไปจะต้องหาซื้อได้ง่าย ราคาเอื้อมถึง รสชาติเหมือนเนื้อสัตว์จริงๆ และอาจมีบทบาทในฐานะอาหารสุขภาพในอนาคตได้ 

โดยเฉพาะต้นทุนของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด

แม้หลายประเทศในอเมริกา ยุโรป และเอเชียจะสนับเนื้อสัตว์ประเภทนี้ แต่ในยุโรปก็มีประเทศอิตาลีมือหนึ่งด้านอาหารจากฝั่งยุโรปคัดค้านและแบนการซื้อขายเนื้อสัตว์ประเภทนี้ 

"เนื้อสัตว์เทียม" ถูกผลิตขึ้นโดยการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์โดยใช้การผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีชีวภาพ วิศวกรรมเนื้อเยื่อ ชีววิทยาระดับโมเลกุล และกระบวนการสังเคราะห์ เทคโนโลยีนี้สามารถสร้างเนื้อสัตว์ที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับเนื้อสัตว์จริง แต่อย่างไรก็ตาม เนื้อที่สังเคราะห์ขึ้นยังขาดส่วนประกอบที่เป็นกุญแจสำคัญต่อรสชาติและเนื้อสัมผัส ซึ่งคือ “ไขมัน” นั่นเอง

การวิจัยครั้งนี้ จึงนับเป็นนิมิตหมายอันดี เพราะเริ่มมีภาคเอกชนให้ความสนใจ และให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่ จะทำให้การส่งเสริมอุตสาหกรรมอาหารจากการสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรม เนื้อสัตว์ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงในห้องปฏิบัติการเป็นไปอย่างมีทิศทาง และตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคชาวไทยต่อไปได้มากที่สุด

อ่านเพิ่มเติม เนื้อสัตว์ที่เพาะเลี้ยงจากห้องแล็บ รายการอาหารแห่งอนาคต

การวิจัยมุ่งเน้นไปที่การทดลองพัฒนารสชาติเนื้อสัตว์เพาะเลี้ยง มากกว่าการทดลองสินค้าในเชิงพาณิชย์ ดังนั้นในการศึกษานี้จึงไม่ได้สารระดับฟู้ดเกรด แต่นักวิจัยเชื่อว่าปรับไปใช้สารที่สามารถกินได้ และปลอดภัยในการบริโภค

นวัตกรรมอาหารแห่งอนาคต “เนื้อหมูเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ” จากห้องแล็บสู่จาน ผลงานนักวิจัยจุฬาฯ

วัลภา ศุขใหญ่ ติดต่อฝ่ายขาย เฉลิมพล (น็อต) ทิสาลี

เมื่อประชากรมีความต้องการบริโภคเนื้อสัตว์เพิ่มขึ้น แต่พื้นที่การปศุสัตว์มีจำกัดและการทำฟาร์มเลี้ยงสัตว์ยังส่งผลกระทบต่อสภาวะโลกร้อน หลายฝ่ายจึงพยายามค้นหาทางเลือกใหม่ของแหล่งโปรตีนจากเนื้อสัตว์เพื่อสนองความต้องการของผู้บริโภค โดยไม่ต้องเลี้ยงสัตว์!

Report this page